สาขาวิชาประมง Bachelor of Science Program in Fisheries
หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน
ระดับอาชีวศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาชาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชื่อภาษาไทย : สาชาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Aquaculture
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา : ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือ ปวช. หรือเทียบเท่า
ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตราบัณฑิต สาชาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร แขนงวิชาการประมง
ชื่อภาษาไทย : แขนงวิชาการประมง
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Fisheries
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา : ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือ ปวช. หรือ ปวส. หรือเทียบเท่า

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนวัลย์ ผาลี หัวหน้าสาขาวิชาประมง

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการเพาะเลี้ยงเลี้ยงสัตว์น้ำ
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : ศึกษาทางด้านการประมง การบริหารการจัดการและการวางแผนการใช้ทรัพยากรน้ำ การส่งเสริมการประมง การจัดการธุรกิจประมง เศรษฐศาสตร์ประมง กฎหมายประมง ตลอดจนการประยุกต์ระบบสารสนเทศทางการประมง เพื่อนำไปสู่การบริหารวางแผนจัดการทรัพยากรประมงที่มี ดุลยภาพและศักยภาพ

หลักสูตร วิทยาศาสตราบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร แขนงวิชาการประมง
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : ศึกษาทางด้านการประมง การบริหารการจัดการและการวางแผนการใช้ทรัพยากรน้ำ การส่งเสริมการประมง การจัดการธุรกิจประมง เศรษฐศาสตร์ประมง กฎหมายประมง ตลอดจนการประยุกต์ระบบสารสนเทศทางการประมง เพื่อนำไปสู่การบริหารวางแผนจัดการทรัพยากรประมงที่มี ดุลยภาพและศักยภาพ
อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

อาจารย์พูลทรัพย์ ศิริสานต์
ตำแหน่ง อาจารย์

อาจารย์สราวุฒิ คำพุช
ตำแหน่ง อาจารย์

ผศ.ดร.อดิเทพชัยย์การณ์ ภาชนะวรรณ
ตำแหน่ง อาจารย์

อาจารย์จิราวรรณ คำธร
ตำแหน่ง อาจารย์

ผศ.ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม
ตำแหน่ง อาจารย์

ดร.วิจิตรตรา อรรถสาร
ตำแหน่ง อาจารย์





แนวทางการประกอบอาชีพหลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการประมง/นักวิจัย/ผู้ช่วยนักวิจัย เช่น กรมทรัพยากรธรณี กรมประมง กรมควบคุมมลพิษ เป็นต้น
- นักส่งเสริมและพัฒนาอาชีพประมง
- บริษัทจำหน่ายเครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์
- ประกอบอาชีพอิสระ เช่น เจ้าของฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือประกอบธุรกิจการประมงใน/ต่างประเทศ
สาขาวิชาการประมง